บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก 2013

Every day กับ Everyday ต่างกันอย่างไร

รูปภาพ
ความแตกต่างระหว่าง  Every day กับ  Everyday "I read the newspaper  every day ,  but it mostly filled with  everyday  stories." ทั้งสองคำนี้ ดูผิวเผินอาจจะคิดว่าเหมือนกัน จริงๆ แล้วมีความหมาย และ การใช้ที่แตกต่างกัน Every day แบ่งเป็นคำ 2 คำ คือ         every ที่เป็น adjective ขยาย noun ก็คือ  day นั่นเอง        อย่างไรก็ดี  every day   นั้นเป็น Adverb of Frequency          เพื่อบอกความถี่หรือความบ่อย  จึงหมายความว่า  ทุกๆ วัน   (ของแต่ละวัน;  each day ) ถ้าหากต้องการตรวจสอบว่าใช้ถูกหรือไม่ ให้เราใช้คำว่า each day แทน every day ก็จะมีความหมายที่คล้ายกัน ดังตัวอย่าง I read books every day .     =   I read books each day . ฉันอ่านหนังสือ ทุกๆ วัน                                                           ฉันอ่านหนังสือ ในแต่ละวัน Every day I'm very happy  =   Each day I'm very happy. ทุกๆ วัน ฉันมีความสุขมาก                                                       ในแต่ละวัน ฉันมีความสุขมาก Everyday เป็น 1 คำ เป็น  adjective        ความห

Congratulation VS Congratulations ต่างกันอย่างไร

รูปภาพ
คำว่า Congratulation กับ Congratulations แตกต่างกันอย่างไร ช่างสับสนกันเหลือเกินครับ บ้างก็ว่าเติม -s บ้างก็บอกไม่เติมก็ได้ ???  ทีนี้เรามาดูความหมายของคำทั้ง 2 คร่าวๆ ดังนี้นะครับ  Congratulation (n.) The act of expressing joy or acknowledgment, as for the achievement or good fortune of another. An expression of such joy or acknowledgment. Often used in the plural. (From  http://www.thefreedictionary.com ) Congratulations (pl. n.) expressions of pleasure or joy; felicitations (From  http://www.thefreedictionary.com ) used when you want to congratulate somebody (From Besta Advanced Learner E-Dictionary) สรุปได้ว่าคำว่า Congratulation เป็น "the act"   of expressing joy or acknowledgement   คือการกระทำเพื่อแสดงความยินดี ส่วน Congratulation s ที่เป็นพหูพจน์ เป็น   the actual  "expressions" of pleasure,   approval or commendation   คือ การการพูดเพื่อแสดงความยินดี ที่มักจะใช้กันครับ และด้วยอีกเหตุผลหนึ่ง การแสดงความยินดีก็คือ การให้พร

ยกเลิก "เกรียน" เปลี่ยนเป็น "รองทรง"

รูปภาพ
              นับว่าเป็นประเด็นร้อนเลยทีเดียวสำหรับการยกเลิกบังคับทรงผมเกรียนในโรงเรียนต่าง ๆ ของไทย ซึ่งประกาศโดย  รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ  นายพงศ์เทพ เทพกาญจนา ทำให้เกิดเสียงวิพากษ์วิจารณ์ตามกระแสไปต่างๆ นานา ทั้งเชิงลบและเชิงบวก  ซึ่งก็เป็นเรื่องที่แปลกที่มีคนคัดค้านกับการประกาศปรับปรุงกฏหมายของทรงผมนักเรียนเช่นนี้ ทั้งๆ ที่มันแทบจะไม่เป็นประเด็นของการศึกษาเลยด้วยซ้ำ มันเป็นประเด็นของสิทธิที่นักเรียนสามารถเลือกทรงผมได้ แต่ก็เป็นสิทธิที่ยังคงมีขอบเขตจำกัดอยู่เช่นกัน  ซึ่ง รมต.ศึกษาธิการได้กล่าว่า  " ถ้าตีความตามกฎกระทรวง พ.ศ.2515 นั้น นักเรียนชายจะต้องไว้ผมด้านข้างและด้านหลังเกรียน แต่กฎกระทรวง พ.ศ.2518 เปลี่ยนแปลงให้นักเรียนชายไว้ผมรองทรงได้ ไม่ต้องตัดผมด้านข้างหรือด้านหลังจนเกรียน แต่ในทางปฏิบัติ ร.ร.ยังคงยึดติดกับทรงผมเกรียนตามกฎกระทรวง พ.ศ.2515 ซึ่งเป็นเรื่องที่ไม่ถูกต้อง เพราะกฎกระทรวงฉบับใหม่เปิดโอกาสให้เด็กไว้ทรงยามแบบรองทรงได้"   ทีนี้เรามาดูกฏกระทรวงทั้ง 2 ฉบับที่ว่ากันดีกว่า (แบบย่อ)  กฎกระท รวงฉบับที่ ๑ (พ.ศ. ๒๕๑๕) กล่าวไว้ว่าดังนี้ : ข้